ปัจจัยทางโรงเรียนกับคุณภาพการเรียนรู้

เมื่อมองผลการประเมินจากมุมมองของประเทศไทย นักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับของไทย เมื่อเทียบกับสมาชิก OECD แล้วยังไม่แสดงศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจได้ในอนาคต ผลการประเมินชี้ว่าไทยยังต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน ทั้งในเรื่องครู ทรัพยากรการเรียน และการจัดการต่างๆ ในระบบโรงเรียน

ความรู้และสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับโลกวันพรุ่งนี้

PISA 2006 มีเป้าหมายที่การประเมินด้านสติปัญญาและด้านเจตคติของการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ การประเมินทางด้านสติปัญญารวมถึงความรู้และการใช้ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และ PISA พิจารณาถึงประเด็นของความรู้วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนช่วยในการดำเนินชีวิตของนักเรียนในการตัดสินใจซึ่งอาจจะเป็นในปัจจุบันหรือในอนาคต

บทสรุปเพื่อการบริหาร การรู้วิทยาศาสตร์ การอ่าน และคณิตศาสตร์ ของนักเรียนนานาชาติวัย 15 ปี

รายงานนี้ ในสองส่วนแรกเป็นผลการประเมินโดยสรุปประเด็นหลักๆ ที่สำคัญเพื่อการบริหารของนักเรียนไทยและนักเรียนนานาชาติตามลำดับ ส่วนที่สามเป็นสาระและภูมิหลังของโครงการ และในส่วนที่สี่ จะรายงานปัจจัยประกอบที่เพิ่มเติมจากผลการประเมินหลัก

รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โครงการ PISA 2006

รายงานฉบับนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของ PISA 2006 ซึ่งขณะที่ทำรายงานฉบับนี้ยังไม่ทราบผลการวิเคราะห์ร่วมกับนานาชาติ จึงเป็นผลการวิเคราะห์ภายในประเทศเท่านั้น รายงานจะแบ่งเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ 1 กล่าวถึงความเป็นมา วิธีการดำเนินการ และผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบทดสอบ และส่วนที่ 2 เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม

การวัดผลและประเมินผลเพื่อคุณภาพการเรียนรู้ และตัวอย่างข้อสอบจากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA)

การพัฒนาวิชาชีพครู เป้าหมายสูงสุดคือการปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน เอกสารเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อเสนอแนะวิธีการปฏิบัติในการวัดและประเมินผล เพื่อให้ครูสามารถตอบสนองการเรียนสอนระบบใหม่ที่เน้นความสำคัญของผู้เรียน

เทคโนโลยีสารสนเทศกับผลการเรียนรู้

PISA 2000 และ PISA 2003 มีการเก็บข้อมูลการใช้ ICT ของนักเรียนในแง่มุมต่างๆ เพื่อจะได้ข้อมูลว่านักเรียนไทยมีความพร้อมสำหรับโลกของเทคโนโลยีหรือไม่ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศมากน้อยเพียงใด และเทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลต่อคุณภาพการเรียนรู้อย่างที่คาดหวังหรือไม่ ในรายงานเล่มนี้ได้อธิบายประเด็นดังกล่าว

มองคุณภาพการศึกษาตะวันออก จากการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ

รายงานโครงการ PISA 2003 เพื่อให้ความชัดเจนกับข้อมูลการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ของนักเรียนไทยเปรียบเทียบกับนักเรียนในประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียด้วยกันที่เข้าร่วมการประเมินทั้งสองครั้ง ได้แก่ เกาหลี จีนฮ่องกง ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และประเทศไทยเท่านั้น

สมรรถนะการแก้ปัญหาสำหรับโลกวันพรุ่งนี้ (ฉบับสมบูรณ์)

การประเมินผลการแก้ปัญหาเป็นการประเมินผลนานานชาติครั้งแรก ที่มีการประเมินสมรรถนะที่ใช้จริงในชีวิต นักเรียนไทยสามารถแสดงออกถึงสมรรถนะนั้นๆ เพียงพอสำหรับชีวิตในอนาคตหรือไม่ คือสาระสำคัญของรายงานฉบับนี้

สมรรถนะการแก้ปัญหาสำหรับโลกวันพรุ่งนี้ รายงานสรุปเพื่อการบริหาร

การประเมินผลการแก้ปัญหาเป็นการประเมินผลนานานชาติครั้งแรก ที่มีการประเมินสมรรถนะที่ใช้จริงในชีวิต นักเรียนไทยสามารถแสดงออกถึงสมรรถนะนั้นๆ เพียงพอสำหรับชีวิตในอนาคตหรือไม่ คือสาระสำคัญของรายงานฉบับนี้

การเรียนรู้เพื่อโลกวันพรุ่งนี้ (ฉบับสมบูรณ์)

PISA 2003 ได้รายงานถึงการเปลี่ยนแปลงของผลการประเมิน พร้อมทั้งชี้ถึงปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนรู้ ซึ่งระบบการศึกษาได้รับรับ และตอบรับความท้าทายในการที่จะทำให้การศึกษามีคุณภาพเทียมทันกับประเทศที่ประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษา

1 3 4 5