ข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับแนวปฏิบัติของระบบการศึกษาที่พร้อมปรับตัวจากการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญของผลการประเมิน PISA 2022

ชื่อหนังสือ

ข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับแนวปฏิบัติของระบบการศึกษาที่พร้อมปรับตัวจากการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญของผลการประเมิน PISA 2022

ชื่อผู้แต่ง

ศูนย์ดำเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่จัดทำ

2567

เผยแพร่โดย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


PISA 2022 เป็นการประเมินครั้งล่าสุด ซึ่งในช่วงที่เก็บข้อมูลเป็นช่วงที่ทั่วโลกเพิ่งผ่านวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้ในภาพรวม PISA 2022 มีผลการประเมินต่ำที่สุดตั้งแต่ที่เริ่มมีการประเมินมา อย่างไรก็ตาม ยังมีระบบการศึกษาที่พร้อมปรับตัวและเอาชนะความท้าทายนี้ได้ ซึ่งแนวปฏิบัติของระบบการศึกษาที่น่าสนใจเหล่านี้นำมาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับประเทศไทย


เอกสารอ้างอิง

  • OECD (2023b). PISA 2022 Results (Volume II): Learning During – and From – Disruption. PISA. OECD Publishing. Paris. https://doi.org/10.1787/a97db61c-en.
  • World Bank (2024). Programme for International Student Assessment (PISA) 2022: Results for Thailand, Malaysia, and the Philippines (Volume 2).
  • กุลธิดา ทุ่งคาใน. (2021). การเรียนรู้แบบผสมผสาน Blended Learning ในวิถี New Normal Blended Learning in a New Normal. ครุศาสตร์สาร | Journal of Educational Studies, 15 (1), 29-43.
  • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2 มีนาคม 2559). การเรียนซ้ำชั้นทำให้ผลการเรียนดีขึ้นหรือไม่. https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2016-3/
  • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (8 มิถุนายน 2552). ผลวิจัยชี้ชัด ‘เรียนซ้ำชั้น’ เด็กไม่ดีขึ้น. https://www.thaihealth.or.th/?p=285214
  • สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2664). รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2563 Thailand’s SDG Progress Report 2016-2023. https://sdgs.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2024/04/SDGs-Goal-2.pdf
  • สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2551). พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ. https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/031/39.PDF


ดาวน์โหลด (PDF, 1.6MB)