สะท้อนประเด็นจากผลการประเมิน PISA ด้านการอ่าน

บทความนี้ได้เสนอแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของคะแนนของการประเมินความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy) ตั้งแต่ PISA 2000 จนถึง PISA 2018 พร้อมบทวิเคราะห์ที่ชี้ถึงปัจจัยในการยกระดับความสามารถทางการอ่านของนักเรียน

[INFOGRAPHICS] ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถด้านการอ่านและแนวทางในการยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนไทย” ตอนที่ 1/7

ศูนย์ PISA แห่งชาติ สสวท. ร่วมมือกับ กสศ. ได้ดำเนินการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคะแนนการอ่านของนักเรียนจากประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะนักเรียนไทย เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาทักษะและความสามารถทางการอ่านของนักเรียนไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบริบทภายในประเทศ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถด้านการอ่านและแนวทางในการยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนไทย

รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการประเมินด้านการอ่านของนักเรียนไทยจากข้อมูล PISA 2018 ซึ่งผลการวิเคราะห์และข้อค้นพบที่ได้จะนำไปสู่แนวทางในการพัฒนาทักษะและความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบริบทภายในประเทศ อีกทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาที่นำไปสู่การยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนไทยอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของท่านได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

บันทึกการตั้งค่า